ผลงานส่งประกวดต้องระบุชื่อ Project และ Theme / Concept
ข้อความอธิบายที่มาของความคิดในการออกแบบบันทึกในรูปแบบของ Microsoft Word โดยมีความยาวไม่เกิน 800 คำ
ตั้งค่ากระดาษขนาด A2
นำเสนอผลงานขนาด A2 แนวตั้งจำนวน 3 – 4 แผ่น
- บอร์ดที่1 นำเสนอ Floor plan, Elevation, Furniture layout plan, Site analysis แสดงภาพถ่ายและรายละเอียดของ Site ที่ถูกเลือกนำมาเป็นโปรเจ็ค
บอร์ดที่ 2 3 และ 4 สี่นำเสนอ 3-D Pperspectives มุมมองต่างๆ พร้อมรายละเอียดการใช้วัสดุต่างๆที่เกี่ยวข้องรวมถึงระบุเฉดสี และเหตุผลในการเลือกใช้เฉดสี
บอร์ดนำเสนอผลงานต้องทำเป็นแนวตั้งเท่านั้น
กรอกใบสมัครพร้อมส่งไฟล์กรอกใบสมัครพร้อมส่งไฟล์Submit in threeผลงานคลิ๊กที่ Sunmit Entry ที่ www.asiayoungdesignerawards-th.com กรอกในสมัครพร้อมส่งไฟล์ Upload File ผลงานวางในใบสมัคร ขนาดความจุรวมไม่เกิน 20 Mb
“Page Present” ตั้งชื่อไฟล์ข้างในว่า “ (ชื่อเจ้าของผลงาน) Page1 ” ซึ่งต้องมี Design Statement รวมอยู่ด้วย
ไฟล์ภาพ
- รูปถ่ายครึ่งตัวเจ้าของผลงาน
- ไฟล์ภาพ perspective ทุกครึ่งตัวเจ้าของผลงานไฟล์ภาพ โดยมีขนาดโดยมีขนาดขั้นต่ำคือ A4 บันทึกไว้ในโฟลเดอร์ชื่อ perspectives ไฟล์ภาพทุกไฟล์ให้บันทึก JPEG มีความละเอียด 300dpi
ระบุพื้นที่ให้ครบถ้วนทุกๆจุดใน Floor Plan
ภาพ Perspective ใน Page Present 2, 3 และ 4 จะต้องมีขนาด A3, A4 หรือ A5 เพื่อความชัดเจนเมื่ออยู่บน Page
Page Present ผู้ส่งผลงานไม่ต้องระบุประวัติและชื่อสถานศึกษาของตนทั้งนี้เพื่อความเป็นกลางในการประกวด
RULES & REGULATIONS
1. ผู้ส่งผลงานต้องเป็นผู้ที่กำลังศึกษาในสาขาสถาปัตยกรรม หรือสาขาการออกแบบตกแต่งภายใน
2. การประกวดเปิดโอกาสเฉพาะนักศึกษาในสาขาสถาปัตยกรรม ชั้นปีที่ 3 ขึ้นไป และนักศึกษาในสาขาการออกแบบตกแต่งภายใน ชั้นปีที่ 2 ขึ้นไป
3. สามารถส่งผลงานเข้าร่วมประกวดได้ท่านละ 1 ผลงานเท่านั้น
4. ผู้ส่งผลงานต้องปฎิบัติตามข้อกำหนดในการส่งอย่างเคร่งครัด และสามารถปรึกษาอาจารย์ผู้ประสานงานการประกวดของแต่ละสถาบันได้
5. กำหนดส่งผลงานประกวด ตั้งแต่วันนี้จนถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2567
6. ผลงานที่ส่งเข้าร่วมประกวดทุกชิ้น ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท นิปปอนเพนต์ เดคโคเรทีฟ โคทติ้ง
(ประเทศไทย) จำกัด
7. ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นอันสิ้นสุด
8. เจ้าของผลงานที่ผ่านเข้ารอบ จะถูกแจ้งให้ทราบเพื่อเดินทางมานำเสนอผลงานด้วยตัวเองต่อหน้าคณะกรรมการ เพื่อทำการคัดเลือกเข้าสู่รอบสุดท้าย
9. เจ้าของผลงานที่เข้ารอบสุดท้ายทุกท่าน ต้องเข้าร่วมกิจกรรมในงานประกาศผลรางวัล
10. ผู้ชนะเลิศระดับ GOLD AWARD ในแต่ละประเทศ จะได้รับสิทธิ์เดินทางเข้าร่วมกิจกรรม ASIA YOUNG DESIGNER SUMMIT 2025 ณ ประเทศที่เป็นเจ้าภาพ เพื่อชิงชนะเลิศระดับเอเชียต่อไป
11. ของรางวัลไม่สามารถโอนย้ายให้กัน หรือแลกเปลี่ยนเป็นเงินสด หรือเครดิตใดๆ
12. ผู้จัดงานมีสิทธิ์ในการปรับเปลี่ยนของรางวัลต่างๆ ได้ ในมูลค่าที่เท่าเทียมกัน โดยไม่จำเป็นต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า
13. ผู้ได้รับการคัดเลือกจะต้องมีหนังสือเดินทางระหว่างประเทศ (Passport)
AYDA JUDGES
ARCHITECTURE CATEGORY
INTERIOR CATEGORY
JUDGING CRITERIA
ARCHITECTURAL CATEGORY
- เนื้อหาคำอธิบายแนวคิดของโปรเจคหรือปัญหา และโปรแกรม
- แสดงข้อมูลวิจัยที่สมบูรณ์
- ความสามารถในการนำเสนอSolution ที่สดใหม่ และท้าทายในงานออกแบบ
- ความสามารถในการวิเคราะห์แสดงเหตุผล
- ออกแบบได้ตรงตามความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ หรือแก้ไขปัญหาได้หรือไม่?
- ออกแบบการใช้งานให้อำนวยความสะดวกเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของผู้ใช้งาน และ Human scale หรือไม่?
- การออกแบบของคุณสามารถต่อยอดในเชิงพาณิชย์หรือเพิ่มมูลค่าต่อสังคมได้
- การออกแบบของคุณมีผลต่อเศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อม ช่วยรักษาสภาพความเป็นอยู่ให้มีชีวิตที่ดีขึ้นหรือไม่?
- SITE & SPATIAL PLANNING /SENSITIVITY:
สร้างสรรค์ Layout Plan ที่ตอบสนองต่อบริบทพื้นที่แต่ละส่วน มีการวางแผล และออกแบบให้เหมาะสมกับความต้องการเฉพาะด้านในการใช้งาน โดยคำนึงถึงหลักของ Anthropometric และ Ergonomic - FUNCTIONALITY:
งานออกแบบต้องมีความเหมาะสมตามประโยชน์ใช้สอยที่ตั้งใจ และสามารถสร้างผลในทางบวกต่อทั้งผู้ใช้งานโดยตรง รวมถึงชุมชนโดยรวม - DESIGN IMPACT:
ผลงานแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลสำคัญที่สามารถสร้างความเปลี่ยนแปลงบางอย่างต่อวิถีชีวิตของผู้คน และสิ่งแวดล้อม มีคุณค่าในเชิงสังคม และประเทศ ไม่ว่าจะเป็นคุณค่าในเชิงสัญลักษณ์ และการสร้างแรงบันดาลใจหรือความเป็นต้นแบบให้กับคนรุ่นถัดไป และเป็นงานออกแบบที่แสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าของวงการ
- ผลงานต้องมีความเป็น Original และพยายามนำเสนอแนวความคิดที่แตกต่าง
- นำเสนอไอเดียที่สดใหม่ มีความเป็นนวัตกรรม และวิสัยทัศน์ที่มองไปข้างหน้าเพื่ออสร้างสรรค์ Solution ที่ให้ความสำคัญกับมนุษย์ ในเชิงอารมณ์ความรู้สึกความเข้าอกเข้าใจ ในเชิงสังคมและวัฒนธรรม
- เป็นงานออกแบบที่เหมาะสมกับพื้นที่และสภาพอากาศ
- คำนึงถึงการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพไม่ว่าจะเป็นวัสดุ น้ำ หรือพลังงาน
- คำนึงถึงวงจรของการใช้ทรัพยากรและพลังงาน ตั้งแต่การออกแบบการก่อสร้าง และการใช้งานโครงการ
- ให้ความสำคัญในเรื่องของคุณภาพสิ่งแวดล้อมภายในอาคาร เพื่อสุขภาวะที่ดีของผู้ใช้งานอาคาร
- เป็นโครงการที่มีความเป็นไปได้จริง
- คำนึงถึงผู้คนที่หลากหลาย (Universal Design)
- งานออกแบบมีทัศนะที่งดงาม โดยคำนึงถึงบริบท สังคม และวัฒนธรรม
- เป็นงานออกแบบที่สร้างพื้นที่สาธารณะเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้คนและสิ่งแวดล้อม
- การเลือกใช้กลุ่มสีที่มีความเข้ากันได้ดีมีความสมดุลระหว่างสีที่เลือกใช้
- มีความคิดสร้างสรรค์ในการเลือกใช้เฉดสีต่าง ๆ ที่ทำให้งานออกแบบดูโดดเด่นมีความเป็นเอกลักษณ์
- การนำเสนอข้อมูลที่ชัดเจน น่าสนใจมีความคิดสร้างสรรค์ และปฎิภาณไหวพริบที่ยอดเยี่ยม
- การนำเสนอควรใช้วิธีการที่สร้างสรรค์เพื่อถ่ายทอดเนื้อหา สร้างความเข้าใจในตัวผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะด้วยภาพประกอบ กราฟฟิค และเอนิเมชั่น
INTERIOR DESIGN CATEGORY
- เนื้อหาคำอธิบายแนวคิดของโปรเจกต์ปัญหา และโปรแกรม
- แสดงข้อมูลวิจัยที่สมบูรณ์
- ความสามารถในการนำเสนอ Solutionที่สดใหม่ และท้าทายในงานออกแบบ
- ความสามารถในการวิเคราะห์แสดงเหตุผล
- ออกแบบได้ตรงตามความต้องการพื้นฐานของมนุษย์หรือแก้ไขปัญหาได้หรือไม่?
- ออกแบบการใช้งานให้อำนวยความสะดวกเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของผู้ใช้งาน และ Human scale หรือไม่?
- การออกแบบของคุณสามารถต่อยอดในเชิงพาณิชย์หรือเพิ่มมูลค่าต่อสังคมได้
- การออกแบบของคุณมีผลต่อเศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อมช่วยรักษาสภาพความเป็นอยู่ให้มีชีวิตที่ดีขึ้นหรือไม่?
- SPATIAL PLANNING: มีการวางแผนและออกแบบให้เหมาะสมกับความต้องการเฉพาะด้านในการใช้งานของพื้นที่ ในแต่ละสัดส่วน โดยคำนึงถึงหลักของ Anthropometric และ Ergonomic
- FUNCTIONALITY: งานออกแบบต้องมีความเหมาะสมตามประโยชน์ใช้สอยที่ตั้งใจ และสามารถสร้างผลในทางบวกต่อทั้งผู้ใช้งานโดยตรง รวมถึงชุมชนโดยรวม
- ผลงานต้องมีความเป็น Original และพยายามนำเสนอแนวความคิดที่แตกต่าง
- นำเสนอไอเดียที่สดใหม่ มีความเป็นนวัตกรรม และวิสัยทัศน์ที่มองไปข้างหน้าเพื่อสร้างสรรค์ Solution ที่ให้ความสำคัญกับมนุษย์ ในเชิงอารมณ์ความรู้สึกความเข้าอกเข้าใจ ในเชิงสังคมและวัฒนธรรม
- เป็นงานออกแบบที่เหมาะสมกับพื้นที่และสภาพอากาศ
- คำนึงถึงการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพไม่ว่าจะเป็นวัสดุ น้ำ หรือพลังงาน
- คำนึงถึงวงจรของการใช้ทรัพยากรและพลังงาน ตั้งแต่การออกแบบการก่อสร้าง และการใช้งานโครงการ
- ให้ความสำคัญในเรื่องของคุณภาพสิ่งแวดล้อมภายในอาคาร เพื่อสุขภาวะที่ดีของผู้ใช้งานอาคาร
- เป็นโครงการที่มีความเป็นไปได้จริง
- คำนึงถึงผู้คนที่หลากหลาย (Universal Design)
- งานออกแบบมีทัศนะท่ีงดงาม โดยคํานึงถึงบริบท สังคม และวัฒนธรรม
- เป็นงานออกแบบที่สร้างพื้นท่ีสาธารณะเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตท่ีดีของผู้คนและ ส่ิงแวดล้อม
- การเลือกใช้กลุ่มสีที่มีความเข้ากันได้ดีมีความสมดุลระหว่างสีที่เลือกใช้
- มีความคิดสร้างสรรค์ในการเลือกใช้เฉดสีต่าง ๆ ที่ทำให้งานออกแบบดูโดดเด่นมีความเป็นเอกลักษณ์
ให้ความสําคัญในเรื่องของคุณภาพสิ่งแวดล้อมภายในอาคาร เพื่อสุขภาวะที่ดี
- การนำเสนอข้อมูลที่ชัดเจน น่าสนใจมีความคิดสร้างสรรค์ และปฎิภาณไหวพริบที่ยอดเยี่ยม
- การนำเสนอควรใช้วิธีการที่สร้างสรรค์เพื่อถ่ายทอดเนื้อหา สร้างความเข้าใจในตัวผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะด้วยภาพประกอบ กราฟฟิค และเอนิเมชั่นของผู้ใช้งานอาคาร
How To Submit
1. เข้า www.asiayoungdesignerawards-th.com คลิกที่ Entry Submit กรอกใบสมัครให้ครบถ้วน
2. ส่งผลงานที่ www.asiayoungdesignerawards-th.com คลิกที่ Entry Submit กรอกใบสมัครพร้อมส่งผลงานโดย Upload เป็น Zip File หรือ Link Download วางในใบสมัคร ขนาดความจุรวมไม่เกิน 20 MB
ผลงานส่งประกวด ต้องระบุชื่อ Project และ Theme/Concept
- บอร์ดที่ 1 นําเสนอ Floor Plan, Elevation, Furniture Layout Plan และSite Analysis แสดงภาพถ่ายและรายละเอียดของ Site ที่ถูกเลือกมาทําเป็นโปรเจค
- บอร์ดที่ 2, 3 และ 4 นําเสนอ 3D Perspectives มุมมองต่างๆ พร้อมรายละเอียดการใช้วัสดุต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึง ระบุเฉดสี และเหตุผลในการเลือกใช้เฉดสี
- บอร์ดนําเสนอผลงาน ต้องทําเป็นแนวตั้งเท่านั้น
- “Page Present” ตั้งชื่อไฟล์ข้างในว่า “(ชื่อเจ้าของผลงาน) Page1” ซึ่งต้องมี Design statement รวมอยู่ด้วย
- รูปถ่ายครึ่งตัวเจ้าของผลงาน
- ไฟล์ภาพ Perspectives ทุกภาพ โดยมีขนาดขั้นต่ำคือ A4 บันทึกไว้ในโฟลเดอร์ชื่อ “Perspectives” ไฟล์ภาพทุก ไฟล์ให้บันทึกเป็นไฟล์ JPEG มีความละเอียด 300 dpi
- ระบุพื้นที่ให้ครบถ้วนทุก ๆ จุดใน Floor Plan
- ภาพ Perspective ในPage Present 2, 3 และ 4 จะต้องมีขนาด A3, A4 หรือ A5 เพื่อความชัดเจนเมื่ออยู่ Page
- Page Present ผู้ส่งผลงานไม่ต้องระบุประวัติ หรือชื่อสถานศึกษาของตน ทั้งนี้เพื่อความเป็นกลางในการประกวด